ถอดบทเรียน "การยื่นขอตำแหน่งที่สูงขึ้น สำหรับบุคลากรสารสนับสนุน" จากการฟัง "คุณสวัสดิ์ วิชระโภชน์

ครั้งหนึ่ง คุณสวัสดิ์ วิชระโภชน์ เจ้าหน้าที่ชำนาญการ จากกองทะเบียน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ซึ่งเป็นคนต้นแบบคนหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ทุกคนยอมรับว่า เป็นบุคลากรตัวอย่าง คุณสวัสดิ์มาพูดเรื่อง "การเขียนคู่มือปฏิบัติการ"  จำได้ว่าพูดได้ดีมากมาก .... จึงมาถอดบทเรียนไว้ให้เป็นประโยชน์ต่อน้อง ๆ พนักงานสายสนับสนุนต่อไป

ความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าของงานสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย

๑) ความก้าวหน้าทางวิชาชีพในมหาวิทยาลัย


  • ความก้าวหน้าทางวิชาชีพของบุคลากรในมหาวิทยาลัยแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ 
    • ตำแหน่งวิชาการ ได้แก่ อาจารย์ ผศ. รศ. และ ศ.
    • ตำแหน่งผู้บริหาร ได้แก่ ผอ.สำนักอธิการบดี และ ผู้อำนวยการกอง (สำหรับสายสนับสนุน)
    • ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ หรือ ตำแหน่งเชี่ยวชาญเฉพาะ มี ๕ ตำแหน่ง ได้แก่
      • ปฏิบัติการ 
      • ชำนาญการ
      • ชำนาญการพิเศษ
      • เชี่ยวชาญ 
      • เชี่ยวชาญพิเศษ
    • ตำแหน่งทั่วไป มี ๓ ตำแหน่ง ได้แก่
      • ปฏิบัติงาน
      • ชำนาญงาน
      • ชำนาญงานพิเศษ
๒) ทำไมต้องขอตำแหน่ง

  • ทำไมต้องทำผลงาน เพราะว่า การทำผลงานเท่านั้นที่จะมีสิทธิ์ขอตำแหน่งที่สูงขึ้น 



  • ทำไมต้องขอตำแหน่งที่สูงขึ้น
    • เพราะจะได้เงินเดือนสูงขึ้น
    • มีสิทธิ์ได้ตำแหน่งผู้บริหาร  ... เมื่อครองตำแหน่งครบ ๗ ปี
    • จะได้รับการยอมรับจากทุกคนทุกฝ่าย
    • จะได้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิอ่านผลงาน (ได้ค่าจ้างอ่าน)
 
  • เพดานเงินเดือนของผู้ไม่ขอตำแหน่งเลย หรือก็คือ อยู่ในตำแหน่งปฏิบัติการ จะตันอยู่ที่ ๒๙,๑๔๐ บาท เท่านั้น (ประเภทงานทั่วไป หรือพนักงานที่จ้างด้วยวุฒิการศึกษาต่ำกว่า ป.ตรี จะตันอยู่ที่ ๒๑,๐๑๐ บาท) ... ดังนั้นจึงต้องขอ 
  • ถ้าได้ตำแหน่งชำนาญการ เพดานเงินเดือนจะสูงถึง ๔๗,๕๖๐ บาท (พนักงานทั่วไป ตำแหน่งชำนาญงาน จะมีสูงถึง ๓๘,๗๕๐)


  •  การขึ้นเงินเดือนจะเร็วขึ้น 
    • ตำแหน่งชำนาญการจะขึ้นเงินเดือนบนฐานสูงกว่า คือ ๒๙,๓๓๐ บาท ในขณะที่ตำแหน่งปฏิบัติการ จะอยู่ที่ ๒๐,๙๕๐ เท่านั้น (ข้าราชการ จะขึ้นเงินเดือนตามค่ากลางของฐานเงินเดือน)  
    • ได้เงินค่าตอบแทน ในกรณีของตำแหน่งเชี่ยวชาญเฉพาะ
    ๓) คุณสมบัติผู้ที่สามารถยื่นขอได้






    ๔) ผลงานที่ต้องใช้ประกอบการขอตำแหน่งที่สุงขึ้น


    •  งานวิจัยในระดับชำนาญการ ไม่จำเป็นต้องตีพิมพ์ ...  แต่ตีพิมพ์จะชัวร์กว่า 


    ๕) วิธีการเสนอขอกำหนดตำแหน่งที่สูงขึ้น





    • กรรมการตรวจ วิธีปกติ ๓ คน วิธีพิเศษ ๕ คน  





    • หากทำร่วมกัน ต้องมีสัดส่วนอย่างต่ำ ๒๕ เปอร์เซ็นต์  คือต้องทำ ๔ เล่ม และต้องเป็นหัวเรื่องแนวทางเดียวกัน เกี่ยวข้องกับชื่องานที่เสนอขอ


    •  แบบประเมินผลงาน จะเช็คว่า 
      • เนื้อหาถูกต้องหรือไม่ สมบูรณ์หรือไม่  (๓๐ คะแนน)
      • ทันสมัยไหม (๒๕ คะแนน)
      • ประโยชน์ในการนำไปใช้ (๑๕ คะแนน)
      • ความเหมาะสมและความสม่ำเสมอของการใช้งาน (๑๕ คะแนน)
      • ความสามารถในการนำเสนอและความชัดเจน (๑๕ คะแนน)


    •  แบบประเมินงานวิจัยเน้นที่ความคิดริเริ่ม



    ๖) เกณฑ์การประเมิน





     การเขียนคู่มือ (Cr. สวัสดิ์ วิชระโภชน์)


    ๑) คู่มือคืออะไร



    ๒) การกำหนดเรื่องคู่มือที่จะเขียน







     ๓) องค์ประกอบของคู่มือ



     ๔) การจัดทำโครงร่างในการเขียนคู่มือ



    ๕) สัญลักษณ์ที่นิยมใช้ในการเขียนคู่มือ



    ๖) เทคนิคการเขียนคู่มือ


    ๗) การเผยแพร่คู่มือปฏิบัติงาน


     การเขียนคำขอแต่งตั้ง






    ความคิดเห็น

    โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

    PLC มหาสารคาม : อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ (ขยายผลครูตุ๋ม) _๔ :ขยายความสำเร็จสู่ สพป.มค.๑

    รายวิชาศึกษาทั่วไป : ๐๐๓๖๐๐๖ ภาวะผู้นำ ๑-๒๕๖๐ (๑๐) กิจกรรม After Action Review (AAR)

    PLC อบจ. ขอนแก่น _๐๔ : ถอดบทเรียน "การแก้ปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้"